ภาพถ่ายที่ทำให้เห็นว่า ” สเปเชียลเอฟเฟค ” ในอดีตเขาทำกันยังไง

ภาพยนต์หลาย ๆ เรื่องที่มีชื่อเสียงทั้งในอดีต และปัจจุบันต่างก็ได้ใช้ ” สเปเชียลเอฟเฟค ” ทั้งนั้นเพื่อให้ภาพยนต์มีความสมจริงมากขึ้น รวมทั้งความมันส์ที่เหนือความจริงทุกวันนี้เทคโนโลยีได้ถูกพัฒาไปไกลกว่าอดีตมาก จึงทำให้การใช้โปรแกรม CGI หรือ Computer-generated Imagery ในวงการภาพยนต์เป็นเรื่องปกไปแล้ว แต่เราเคยรู้กันไหมว่าแล้วในอดีตเขาทำ ” สเปเชียลเอฟเฟค ” กันอย่างไรถ้าคุณไม่เคยเห็นก็ไปดูกันเลย

1. ภาพยนต์เรื่อง Star Wars: A New Hope (1977) ใช้กระจกในการบังล้อรถเพื่อให้ดูเหมือนว่ามันบินได้ 

2. ภาพยนต์เรื่อง Back to the Future Part II (1989) เสื้อแจ็คเก็ตที่สามารถยืดหดได้อัตโนมัติ เหมือนมีสตริงที่แท้ก็ถูกดึงโดยทีมงาน

3. ภาพยนต์เรื่อง Star Wars: The Phantom Menace (1999) ใช้คอตตอนบัดทาสี เพื่อเอามาใช้แทนคนดูบนอัฒจรรย์ และใช้พัดลมเป่าออกมาจากด้านหลังเพื่อให้มันเคลื่อนไหว 

4. ภาพยนต์เรื่อง Elf (2003) ที่ใช้มุมกล้อง และพื้นต่างระดับเพื่อให้เขาดูตัวใหญ่ขึ้น 

5. ภาพยนต์เรื่อง Ghostbusters (1984) ที่ให้คนแต่งตัวเป็น สเตย์ พัฟต์ มาร์ชเมลโลว์ แมน และใช้รถของเล่นในการประกอบฉาก 

6. ภาพยนต์จากเรื่อง 2001: A Space Odyssey (1968) ใช้ล้อขนาดยักษ์เพื่อทำให้เห็นตอนที่คนเดินเหมือนกับว่าแรงโน้มถ่วงเป็นศูนย์ 

7. ภาพยนต์เรื่อง The Terminator (1984) หุ่นเหล็กถูกแบกอยู่บนหลังในบางฉากเพื่อให้ดูว่าตัวมันใหญ่ขนาดไหน 

8. Charlie Chaplin (1936)  ในฉากที่กำลังเล่นสเก็ตแล้วเหมือนว่าจะตกลงไปด้านล่าง ที่จริงแล้วเขาใช้การถ่ายภาพผ่านกระจก 

9. The Empire Strikes Back (1980) ที่เบื้องหลัง Yoda ก็เป็นแค่หุ่นเชิดเท่านั้น 

10. ภาพยนต์เรื่อง Superman (1978)  ในฉากที่บินคู่กันเขาใช้อุปกรณ์พิเศษเพื่อยกทั้งคู่ขึ้นแทนการใช้สลิง 

11. ในเรื่อง Return of the Jedi (1983)  เบื้องหลังของ แจบบา เดซิลิจิก ทิอูเร ในสตาร์ วอร์ส เอพพิโซด 6

12. ในภาพยนต์เรื่อง Mary Poppins (1964) จะมีการใช้หน้าจอโซเดียมเป็นฉลากหลังที่ทำให้เหมือนว่าตัวละครโลดแล่นไปในที่ต่างๆ

13. ในภาพยนต์เรื่อง Jurassic Park (1993) ใช้หุ่นยนต์ขนาดเท่าตัวจริงของไดโนเสาร์ในการถ่ายทำ 

14. ในภาพยนต์เรื่อง Back To The Future Part II (1989) hoverboard ถูกติดกาวไปที่เท้าของไมเคิลเจฟ็อกซ์มันจะได้ไม่หลุดตอนที่เขากำลังลอยตัว 

15. ในเรื่อง Star Wars ทั้ง 3 ภาคแรก ใช้เทคนิควาดภาพที่เรียกว่า Matte Painting ในการทำภาพพื้นหลังที่อยู่ในตำแหน่งไกลออกไป

ขอบคุณที่มา brightside